วันพุธที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2550

ฟิสิกส์ระบำปลายเท้า20

....................................


ฟิสิกส์โลกทางสังคมมนุษย์


ในการศึกษาในทางสังคมศาสตร์...มีการจำแนกการศึกษาออกเป็นหลากหลายสาขาวิชาการมาก
มายในการศึกษาปรากฎการณ์ในรูปแบบที่มนุษย์อยู่ร่วมกันก่อรูปการเป็นสังคมขึ้น
มา....

ตัวแบบทางทฤษฎีในการศึกษาก็มีมากมายเช่นการวิเคราะห์ในลักษณะโครงสร้าง การ
วิเคราะห์กระบวนการที่ก่อเกิดพลวัตรหรือความขัดแย้งต่างๆ การวิเคราะห์แบบ
สัญญลักษณ์ต่างๆ การวิเคราะห์หาลักษณะปรากฎการณ์จากหน่วยพื้นฐานต่างๆ...การ
วิเคราะห์ในแบบกระบวนการวิวัฒนาการเป็นต้น...นับตั้งแต่เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ จิตวิทยาสังคม ฯลฯ อันเป็นการศึกษาเจาะ
ลึกลงไปถึงพฤติกรรมและปรากฏการณ์ของมนุษย์ในสังคม

สัมพันธภาพของความสัมพันธ์ต่างๆที่ก่อรูปการขึ้นภายใต้การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ นับตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน หมู่บ้าน สังคมประเทศ และสังคมโลก....ก่อเกิดวัฒนธรรม
อันหลากหลายที่เกิดจากกระบวนการก่อรูปการขึ้นมาของมนุษย์ในแต่ละท้องถิ่น...ใน
แต่ละสังคม....

สังคมมนุษย์ก็มีทิศทางแห่งการพัฒนาอันเป็นไปตามกฎเกณท์ทางฟิสิกส์....เช่นเดียว
กันกับองค์รวมระดับโมเลกุล...ในสิ่งต่างๆอันมีคุณภาพองค์รวมแตกต่างจากองค์รวม
ย่อยของอนุภาค....

องค์รวมมนุษย์ หนึ่งคน..ย่อมแตกต่างจากลักษณะองค์รวมของมนุษย์หลายคนที่ประกอบ
เป็นสังคม...รวมทั้งกฎเกณท์การพัฒนาที่มีขอบเขตุของขนาดและคุณภาพที่แตกต่างออก
ไป....

การวิเคราะห์อย่างกว้างๆ....จะเห็นได้ว่าการก่อรูปการทางวัตถุใดๆในทางสังคมก็
เป็นไปตามทิศทางแห่งการก่อรูปการนั้นๆ.....ทิศทางแห่งการพัฒนาไป และทิศทางแห่ง
การเสื่อมสลาย....หรือทิศทางแห่งการเพิ่มขึ้นของขอบเขต..ขนาด..ความเร็ว..และ
พลังงานต่างๆในการก่อรูปการทางสังคม....และทิศทางของการลดขอบเขต...ขนาด...ความ
เร็ว...และพลังงานต่างๆในการก่อรูปการทางสังคม..

สังคม...ณ.เวลาปัจจุบันใดๆ....ล้วนเป็นการก่อรูปการขึ้นใหม่...ภายใต้การแสวงหา
ดุลยภาพที่มีการเคลื่อนที่....โดยมีร่องรอยแห่งรูปการของอดีต(ประวัติศาสตร์,
มรดกวัฒนธรรม,ประเพณี.ความเชื่อฯลฯ)...รูปการปัจจุบันแห่งสังคม(ปฏิบัติการต่างๆ
ในปัจจุบัน)...และร่องรอยแห่งอนาคต(อุดมคติ,อุดมการณ์,จุดมุ่งหมาย,ทฤษฎี,วิทยา
การและนวัตกรรม ฯลฯ )....ก่อรูปการใหม่เป็นทิศทางแห่งสังคมปัจจุบันที่กำลังก้าว
ไป....

ร่องรอยแห่งอดีต...มีบทบาทสูงมากในการก่อรูปการทางสังคม...และมีบทบาทต่อการ
กำหนดทิศทางแห่งอนาคตของสังคมนั้นๆ....

สงครามก็คือตัวอย่างที่เด่นชัดแห่งการรุกรานทางวัฒนธรรมในทางสังคม....สงครามใดๆ
ล้วนเกิดจากการขาดดุลยภาพในทางวัฒนธรรมของสังคมอันเนื่องจากอัตตาแห่งกลุ่มคนใน
สังคม....

วัฒนธรรมก็คือรากฐานแบบวิธีประพฤติปฏิบัติใดๆ...ของคนในสังคม...

อันก่อเกิดจาก...ร่องรอยแห่งอดีต...และร่องรอยแห่งอนาคต...และก่อรูปการขึ้นใหม่
ตามหลักการทางฟิสิกส์.....ที่เป็นธรรมชาติของสังคมมนุษย์ภายใต้กระบวนแห่งการ
พัฒนา....


แบบวิธีวิเคราะห์ทางสังคมเป็นการทำความเข้าใจในสัมพันธภาพของกระบวนการต่างๆทาง
สังคม...เพื่อทำความเข้าใจในการนำมาประยุกต์ใช้.....

ในการประยุกต์เพื่อวิเคราะห์...คาดหมาย...พยากรณ์แนวโน้มหรือการสร้างแบบจำลอง
แห่งการพัฒนา....การปรับปรุงการสร้างกลยุทธ์ใหม่ๆการปรับปรุงองค์กรต่างๆทาง
สังคม...ล้วนแล้วมีเรื่องหลักที่จะต้องวิเคราะห์......ก็คือการทำความเข้าใจใน
เรื่อง....ทิศทาง.....กล่าวคือ...ทิศทางใหญ่...ทิศทางเล็ก....และทิศทางย่อยๆลง
ที่กำกับการปฏิบัติในแต่ละระยะ....

จุดมุ่งหมาย...อุดมคติ...อุดมการณ์...แนวทาง...นโยบาย....เข็มมุ่ง...หนทาง...
ยุทธศาสตร์...ยุทธวิธี...กลยุทธ์...มาตรการ....ฯลฯ....

ทั้งหมดล้วนแล้วเป็นการกำหนดทิศทางแห่งองค์รวมแต่ละองค์รวมจะต้องเดินไปภายใต้
การคาดหมายและการกำหนดแบบวิธีปฏิบัติในทางสังคม...หรือกระบวนแห่งการสร้างร่อง
รอยเพื่อดำเนินไปสู่อนาคต.....

จากเซลล์เดียวของไข่ที่ได้รับการผสมและพัฒนามาเป็นมนุษย์....สัตว์ที่เติบโตมา
จากเซลล์เดียวเผ่าพันธุ์นี้....ที่มีส่วนประกอบของอนุภาคที่ไม่ต่างจากสิ่งอื่นๆ
ภายยังมีลักษณะของการอยู่ร่วมกันเป็นสังคม...และมีการก่อรูปการทางสังคมขึ้นไม่
ต่างจากโมเลกุลของอนุภาค.....

ลักษณะสำคัญที่ทำให้ก่อเกิดระบบสังคม...ก็คือระบบองค์รวมของสิ่งต่างๆในธรรมชาติ
มีพัฒนาการไปบนพื้นฐานแห่งการปรับดุลยภาพตลอดเวลาเพื่อให้เกิดการดำรงอยู่และ
เกิดการเคลื่อนที่ไป....ภายใต้อันตรกิริยากับภายนอก...ที่มีการแปรเปลี่ยนไปเช่น
กันตลอดเวลา

โมเลกุลทางสังคม...หรือระบบความสัมพันธ์ทางชีวภาพของสังคมมนุษย์...มีระบบแห่ง
การสื่อสาร...ระบบเศรษฐกิจ...การเมือง...และระบบทางสังคมต่างๆ..เป็นส่วนเชื่อม
ความสัมพันธ์เช่นเดียวกันกับพันธะทางฟิสิกส์เคมี.....


ในการศึกษาในทางสังคมศาสตร์...มีการจำแนกการศึกษาออกเป็นหลากหลายสาขาวิชาการมาก
มายในการศึกษาปรากฎการณ์ในรูปแบบที่มนุษย์อยู่ร่วมกันก่อรูปการเป็นสังคมขึ้น
มา....

ตัวแบบทางทฤษฎีในการศึกษาก็มีมากมายเช่นการวิเคราะห์ในลักษณะโครงสร้าง การ
วิเคราะห์กระบวนการที่ก่อเกิดพลวัตรหรือความขัดแย้งต่างๆ การวิเคราะห์แบบ
สัญญลักษณ์ต่างๆ การวิเคราะห์หาลักษณะปรากฎการณ์จากหน่วยพื้นฐานต่างๆ...การ
วิเคราะห์ในแบบกระบวนการวิวัฒนาการเป็นต้น...นับตั้งแต่เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ จิตวิทยาสังคม ฯลฯ อันเป็นการศึกษาเจาะ
ลึกลงไปถึงพฤติกรรมและปรากฏการณ์ของมนุษย์ในสังคม

สัมพันธภาพของความสัมพันธ์ต่างๆที่ก่อรูปการขึ้นภายใต้การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ นับตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน หมู่บ้าน สังคมประเทศ และสังคมโลก....ก่อเกิดวัฒนธรรม
อันหลากหลายที่เกิดจากกระบวนการก่อรูปการขึ้นมาของมนุษย์ในแต่ละท้องถิ่น...ใน
แต่ละสังคม....

สังคมมนุษย์ก็มีทิศทางแห่งการพัฒนาอันเป็นไปตามกฎเกณท์ทางฟิสิกส์....เช่นเดียว
กันกับองค์รวมระดับโมเลกุล...ในสิ่งต่างๆอันมีคุณภาพองค์รวมแตกต่างจากองค์รวม
ย่อยของอนุภาค....

องค์รวมมนุษย์ หนึ่งคน..ย่อมแตกต่างจากลักษณะองค์รวมของมนุษย์หลายคนที่ประกอบ
เป็นสังคม...รวมทั้งกฎเกณท์การพัฒนาที่มีขอบเขตุของขนาดและคุณภาพที่แตกต่างออก
ไป....

การวิเคราะห์อย่างกว้างๆ....จะเห็นได้ว่าการก่อรูปการทางวัตถุใดๆในทางสังคมก็
เป็นไปตามทิศทางแห่งการก่อรูปการนั้นๆ.....ทิศทางแห่งการพัฒนาไป และทิศทางแห่ง
การเสื่อมสลาย....หรือทิศทางแห่งการเพิ่มขึ้นของขอบเขต..ขนาด..ความเร็ว..และ
พลังงานต่างๆในการก่อรูปการทางสังคม....และทิศทางของการลดขอบเขต...ขนาด...ความ
เร็ว...และพลังงานต่างๆในการก่อรูปการทางสังคม..

สังคม...ณ.เวลาปัจจุบันใดๆ....ล้วนเป็นการก่อรูปการขึ้นใหม่...ภายใต้การแสวงหา
ดุลยภาพที่มีการเคลื่อนที่....โดยมีร่องรอยแห่งรูปการของอดีต(ประวัติศาสตร์,
มรดกวัฒนธรรม,ประเพณี.ความเชื่อฯลฯ)...รูปการปัจจุบันแห่งสังคม(ปฏิบัติการต่างๆ
ในปัจจุบัน)...และร่องรอยแห่งอนาคต(อุดมคติ,อุดมการณ์,จุดมุ่งหมาย,ทฤษฎี,วิทยา
การและนวัตกรรม ฯลฯ )....ก่อรูปการใหม่เป็นทิศทางแห่งสังคมปัจจุบันที่กำลังก้าว
ไป....


ร่องรอยแห่งอดีต...มีบทบาทสูงมากในการก่อรูปการทางสังคม...และมีบทบาทต่อการ
กำหนดทิศทางแห่งอนาคตของสังคมนั้นๆ....
สงครามก็คือตัวอย่างที่เด่นชัดแห่งการรุกรานทางวัฒนธรรมในทางสังคม....สงครามใดๆ
ล้วนเกิดจากการขาดดุลยภาพในทางวัฒนธรรมของสังคมอันเนื่องจากอัตตาแห่งกลุ่มคนใน
สังคม....


วัฒนธรรมก็คือรากฐานแบบวิธีประพฤติปฏิบัติใดๆ...ของคนในสังคม...
อันก่อเกิดจาก...ร่องรอยแห่งอดีต...และร่องรอยแห่งอนาคต....
และก่อรูปการขึ้นใหม่ตามหลักการทางฟิสิกส์.....ที่เป็นธรรมชาติของสังคมมนุษย์
ภายใต้กระบวนแห่งการพัฒนา....



แบบวิธีวิเคราะห์ทางสังคม


เป็นแบบวิธีการการทำความเข้าใจในสัมพันธภาพของกระบวนการต่างๆทางสังคม...เพื่อทำ
ความเข้าใจในการนำมาประยุกต์ใช้.....

ในการประยุกต์เพื่อวิเคราะห์...คาดหมาย...พยากรณ์แนวโน้มหรือการสร้างแบบจำลอง
แห่งการพัฒนา....การปรับปรุงการสร้างกลยุทธ์ใหม่ๆการปรับปรุงองค์กรต่างๆทาง
สังคม...ล้วนแล้วมีเรื่องหลักที่จะต้องวิเคราะห์......ก็คือการทำความเข้าใจใน
เรื่อง....ทิศทาง.....กล่าวคือ...ทิศทางใหญ่...ทิศทางเล็ก....และทิศทางย่อยๆลง
ที่กำกับการปฏิบัติในแต่ละระยะ....

จุดมุ่งหมาย...อุดมคติ...อุดมการณ์...แนวทาง...นโยบาย....เข็มมุ่ง...หนทาง...
ยุทธศาสตร์...ยุทธวิธี...กลยุทธ์...มาตรการ....ฯลฯ....ทั้งหมดล้วนแล้วเป็นการ
กำหนดทิศทางแห่งองค์รวมแต่ละองค์รวมจะต้องเดินไปภายใต้การคาดหมายและการกำหนดแบบ
วิธีปฏิบัติในทางสังคม...หรือกระบวนแห่งการสร้างร่องรอยเพื่อดำเนินไปสู่
อนาคต.....

จากเซลล์เดียวของไข่ที่ได้รับการผสมและพัฒนามาเป็นมนุษย์....สัตว์ที่เติบโตมา
จากเซลล์เดียวเผ่าพันธุ์นี้....ที่มีส่วนประกอบของอนุภาคที่ไม่ต่างจากสิ่งอื่นๆ
ภายยังมีลักษณะของการอยู่ร่วมกันเป็นสังคม...และมีการก่อรูปการทางสังคมขึ้นไม่
ต่างจากโมเลกุลของอนุภาค.....

ลักษณะสำคัญที่ทำให้ก่อเกิดระบบสังคม...ก็คือระบบองค์รวมของสิ่งต่างๆในธรรมชาติ
มีพัฒนาการไปบนพื้นฐานแห่งการปรับดุลยภาพตลอดเวลาเพื่อให้เกิดการดำรงอยู่และ
เกิดการเคลื่อนที่ไป....ภายใต้อันตรกิริยากับภายนอก...ที่มีการแปรเปลี่ยนไปเช่น
กันตลอดเวลา

โมเลกุลทางสังคม...หรือระบบความสัมพันธ์ทางชีวภาพของสังคมมนุษย์...มีระบบแห่ง
การสื่อสาร...ระบบเศรษฐกิจ...การเมือง...และระบบทางสังคมต่างๆ..เป็นส่วนเชื่อม
ความสัมพันธ์เช่นเดียวกันกับพันธะทางฟิสิกส์เคมีต่างๆที่เชื่อมอนุภาคเป็นโครง
สร้างโมเลกุล.......

ในการวิเคราะห์เพื่อหาทิศทางที่จะก่อให้เกิดทางเลือกที่ดีที่สุดกับการก่อรูปการ
ทางสังคม...มีหัวข้อที่ต้องวิเคราะห์หลักๆดังนี้...


1.การวิเคราะห์ทิศทาง ....ได้แก่ทิศทางหลัก...ทิศทางย่อยๆ...ทิศทางเลือก
ต่างๆ...เป็นต้น อันประกอบไปด้วยการวิเคราะห์

-ร่องรอยแห่งอดีต...อันเป็นส่วนที่จะบ่งบอกถึงทิศทาง

-ร่องรอยแห่งอนาคต....อันบ่งบอกถึงทิศทางและแนวโน้ม

-แบบวิธีปฏิบัติในปัจจุบัน.....อันบ่งบอกถึงข้อแห่งการกระทำปัจจุบัน

-ศักย์ที่ดำรงอยู่......ได้แก่ค่าแห่งศักยภาพทางกายภาพทางสังคม และศักยภาพทาง
ปัญญา,จิตวิญญาณทางสังคมนั้นๆ...อันก่อเกิดระบบแห่งการแลกเปลี่ยนศักยภาพ
นั้นๆ...การประเมินคุณค่า...การเปรียบเทียบต่างๆ.....สัมพันธภาพต่างๆ...เป็น
ต้น

-ลักษณะของความสัมพันธ์และระบบ....เช่นระบบสื่อสาร...

-การเปลี่ยนแปลงและทิศทางภายใต้การเคลื่อนที่

-มิติของเงา,มิติวงแหวน,มิติการทับซ้อน(พหุภาพกายภาพ),มิติการทับซ้อนเวลา(พหุ
ภาพเวลา)และมิติองค์รวมพหุภาพ(องค์รวมทางกายภาพและจิตวิญญาณทางสังคม)

2.หลักการทั่วไปทางฟิสิกส์ของการเปลี่ยนแปลง
( ดังได้กล่าวในรายละเอียดมาแล้ว...เช่นพลังงานความเร็วของระบบ..หรือศักยภาพ
ต่างๆที่ดำรงอยู่ในทางสังคมอันเป็นเงื่อนไขการก่อรูปการทางวัตถุในระบบ )

3.การประยุกต์ หรือการเลือกทิศทาง


เช่น...การสร้างองค์ความรู้ใหม่ใดๆ....ก็ต้องคำนึงถึงทิศทางอันก่อให้เกิดการ
พัฒนาสูงขึ้นของระบบที่สอดคล้องกับการพัฒนาไปของภายนอก...และองค์ความรู้ใดๆล้วน
ประกอบไปด้วย ร่องรอยอดีตหรือประวัติศาสตร์(ที่เก็บรับบทเรียน),ร่องรอยการกระทำ
ปัจจุบัน(การลงมือทดลองปฏิบัติเพื่อหาข้อสรุป)และร่องรอยแห่งอนาคต(การสร้าง
สรรค์,การรังสรรค์,ทฤษฎี,จินตนาการ,นโยบายมาตรการทุกชนิดเป็นต้น)....

ไม่มีความคิดเห็น: